เครื่องวัดดัชนีเมฆเพื่อประเมินกำลังการผลิตไฟฟ้า

การจัดท าโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือการประเมินก าลังการผลิต ไฟฟ้าด้วยค่าดัชนีเมฆด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ (Image processing) โครงงานนี้จะท าการ ตรวจวัดค่ารังสีอาทิตย์จากค่าดัชนีเมฆ ควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ มีการแสดงผลค่ารังสี อาทิตย์ ค่าปริมาณเมฆ ค่าดัชนีเมฆและค่าก าลังไฟฟ้าที่มีการแสดงเป็นค่าภาพตัวเลข ซึ่งจะมีการ ตรวจจับภาพนิ่งทุกๆ 5 วินาที ตั้งแต่ 06.00 – 18.00 น. มาเฉลี่ยทุกๆ 15 นาที จากการวิเคราะห์ และเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าเครื่องมือวัดนี้สามารถประเมินตรวจวัดค่าประสิทธิภาพก าลังการผลิต พลังงานไฟฟ้าได้ มีความสอดคล้องกับเครื่องมือวัดจากแผงโซล่าเซลล์โดยตรง ทางคณะจึงได้ สร้างเครื่องมือนี้ขึ้นมาเพื่อลดปัญหาประสิทธิภาพของการรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มากที่สุดและ ต้นทุนการติดตั้งดังกล่าวโดยการหาจากค่าดัชนีของเมฆ เพื่อเป็นตัวเลือกหนึ่งในการพยากรได้ สรุปทางคณะเห็นว่าค่าดัชนีของเมฆมีผลโดยตรงต่อการผลิตพลังงานของแผงโซล่าเซลล์ คือการ น ามาประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์พยากรณ์หาค่าการผลิตของแผงโซล่าเซลล์ของพื้นที่อาคาร 605 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา โดยเทียบกับค่าของระบบแผงโซล่าเซลล์ของสถาบันฯ ค่าที่สามารถ พยากรณ์ที่ได้จากเครื่องวัดดัชนีของเมฆมีค่าความผิดพลาดอยู่ที่ ± 3 %

Published date : Aug 01, 2023
Publisher : สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
Page : 107 หน้า
Rating :
Available Unlimited
SHARE ON SOCIAL MEDIA :

MARC Information

245 a : Title 
เครื่องวัดดัชนีเมฆเพื่อประเมินกำลังการผลิตไฟฟ้า 
300 a : Total pages 
107 หน้า 
520 a : Description 
การจัดท าโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือการประเมินก าลังการผลิต ไฟฟ้าด้วยค่าดัชนีเมฆด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ (Image processing) โครงงานนี้จะท าการ ตรวจวัดค่ารังสีอาทิตย์จากค่าดัชนีเมฆ ควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ มีการแสดงผลค่ารังสี อาทิตย์ ค่าปริมาณเมฆ ค่าดัชนีเมฆและค่าก าลังไฟฟ้าที่มีการแสดงเป็นค่าภาพตัวเลข ซึ่งจะมีการ ตรวจจับภาพนิ่งทุกๆ 5 วินาที ตั้งแต่ 06.00 – 18.00 น. มาเฉลี่ยทุกๆ 15 นาที จากการวิเคราะห์ และเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าเครื่องมือวัดนี้สามารถประเมินตรวจวัดค่าประสิทธิภาพก าลังการผลิต พลังงานไฟฟ้าได้ มีความสอดคล้องกับเครื่องมือวัดจากแผงโซล่าเซลล์โดยตรง ทางคณะจึงได้ สร้างเครื่องมือนี้ขึ้นมาเพื่อลดปัญหาประสิทธิภาพของการรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มากที่สุดและ ต้นทุนการติดตั้งดังกล่าวโดยการหาจากค่าดัชนีของเมฆ เพื่อเป็นตัวเลือกหนึ่งในการพยากรได้ สรุปทางคณะเห็นว่าค่าดัชนีของเมฆมีผลโดยตรงต่อการผลิตพลังงานของแผงโซล่าเซลล์ คือการ น ามาประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์พยากรณ์หาค่าการผลิตของแผงโซล่าเซลล์ของพื้นที่อาคาร 605 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา โดยเทียบกับค่าของระบบแผงโซล่าเซลล์ของสถาบันฯ ค่าที่สามารถ พยากรณ์ที่ได้จากเครื่องวัดดัชนีของเมฆมีค่าความผิดพลาดอยู่ที่ ± 3 % 

No Reviews

  1. There are no reviews yet, why not be the first.

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ หากคุณยังคงใช้ไซต์นี้ต่อไปหมายความว่าคุณยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไขและนโยบายความเป็นส่วนตัว.